Leader as Facilitative Coaching Model

ผู้เขียนเชื่อว่าทั้งบทบาท Facilitator Style และ Coaching Style ต่างใช้ทักษะหลักร่วมกัน โดยเฉพาะการสร้างความสัมพันธ์ การฟัง การถาม และการ Facilitate Learning เพื่อให้คน หรือกลุ่มคน ค้นพบคำตอบด้วยตัวเอง ดังนั้นที Courage to Coach จึงเรียกกระบวนการโค้ชและฟาของตนเองว่า Facilitative Coaching

 

Facilitative Coaching

คือ กระบวนการเรียนรู้ด้วยการโค้ชและการฟา ใช้ทักษะเพื่อเปิดพื้นที่ให้คนดึงศักยภาพในตนเองขึ้นมาใช้ในการทำงานอย่างเต็มใจ ก้าวข้ามอุปสรรคที่ขัดขวางไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ และเมื่องานนั้นเกี่ยวข้องกันหลายฝ่าย Facilitative Coach จะช่วยให้คนที่เกี่ยวข้อง ร่วมมือกันเพื่อให้บรรลุผลของงานอย่างมีความสุข

 

Facilitative Coaching

เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน (People Development) เป็นทั้งวิธีคิดเพื่อนำชีวิตของตนเอง และทักษะในการนำพาทีมด้วยความเชื่อมั่นในศักยภาพของทุกคน เมื่อใช้ Facilitative Coaching เท่ากับใช้ ศาสตร์ Facilitator Style และ Coaching Style หากใช้ร่วมกับเครื่องมืออื่น ๆ ในการบริหารงาน เน้นความสัมพันธ์เชิงบวกในการทำงานร่วมกัน เน้นการสร้างความเชื่อใจ เปิดใจ ให้และรับ Feedback การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สื่อสารพูดคุย หันหน้าเข้าหากัน นำไปสู่บรรยากาศการทำงานที่ดี คนมีความสุข และส่งมอบผลลัพธ์ที่ทีมและองค์กรต้องการ

 

Leader as Facilitative Coaching Model

เป็นโมเดลสำหรับผู้นำ ที่ใช้ในการพัฒนาคนได้หลากหลายรูปแบบทั้งการโค้ชรายบุคคล (One-on-One Coaching) การโค้ชแบบกลุ่ม (Group Coaching) การโค้ชทีม (Team Coaching) การจัดกระบวนการเรียนรู้ (Group Facilitation) และการสร้าง Leader as Facilitative Coach

———————————–

เกี่ยวกับผู้เขียน: อ้อม ทัศนีย์ จารุสมบัติ, PCC

ปัจจุบันเป็น Executive Coach, Facilitative Coach สนับสนุนผู้นำให้ใช้ People Skills หรือ Soft Skills เช่น Coaching, Facilitation, Conversation, Dialogue, Feedback, Recognition สร้างวัฒนธรรมองค์กรแห่งการอยู่ร่วม อยู่อย่างมีความหมาย

ติดต่อ:

Website: www.couragetocoach.net

Facebook: Tasanee Jarusombuti

LinkedIn: Tasanee Jarusombuti

Facebook Page: Courage to Coach

Official Line @couragetocoach

Email: couragetocoach@gmail.com

Tel: 086-165-6993

แชร์หน้านี้